วันศุกร์, กรกฎาคม 26, 2024

ติดต่อลงโฆษณา โทร : 065 334 8667 (คุณจิรภัทร แสงจันทร์)

หน้าแรกอบรมออนไลน์แบบทดสอบออนไลน์ วรรณคดีในบทเรียน ภาษาไทย ผ่านเกณฑ์รับเกียรติบัตรทาง E- mail หากทำแบบทดสอบผ่านร้อยละ 75 % ขึ้นไป

แบบทดสอบออนไลน์ วรรณคดีในบทเรียน ภาษาไทย ผ่านเกณฑ์รับเกียรติบัตรทาง E- mail หากทำแบบทดสอบผ่านร้อยละ 75 % ขึ้นไป

สวัสดีครับ วันนี้ ปันสื่อฟรี ขอนำเสนอ แบบทดสอบออนไลน์ พินิจวรรณคดีในบทเรียนภาษาไทย ผ่านเกณฑ์รับเกียรติบัตรทาง E- mail หากทำแบบทดสอบผ่านร้อยละ 60 % ขึ้นไป

คำชี้แจงวรรณคดีในบทเรียน

1. ระบบเต็มหรือจำกัดจำนวนต่อวัน แนะนำให้ทำช่วงเช้า
2. ใส่อีเมล์ผิดต้องใช้ gmail เท่านั้น
3. คะแนนไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
4. ต้องใช้เวลาในการตอบกลับอีเมล์ อาจนานถึง 1วัน
5. อาจอยู่ในเมล์ขยะ
6. บางเพจจำกัด gmail และให้ทำได้เพียงครั้งเดียว
7. บางเกียรติบัตรไม่ส่งทางอีเมล์ต้องดาวโหลดจากเว็บไซต์ (จะมีคำชี้แจงบอกในลิงค์)

ตัวอย่างเกียรติบัตรพินิจวรรณคดี ในบทเรียนภาษาไทย

ตัวอย่างเกียรติบัตรพินิจวรรณคดีในบทเรียนภาษาไทย
ตัวอย่างเกียรติบัตรพินิจวรรณคดี ในบทเรียนภาษาไทย

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม

ความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรม
   วรรณคดีและวรรณกรรม เป็นงานที่แต่งขึ้นโดยเลือกใช้ภาษาเพื่อสื่อความในเรื่องถ่ายทอดความรู้ ความคิด จินตนาการ ประสบการณ์ ฯลฯ มีลักษณะที่แตกต่างกันดังนี้
   วรรณคดี คือ หนังสือดีที่ใช้ศิลปะในการแต่ง สร้างจินตภาพ แสดงความรู้ ความคิด เป็นภาพแทนสังคม
   วรรณกรรม คือ งานเขียนทุกรูปแบบ มีเนื้อหาที่สื่อความให้ผู้อ่านเข้าใจได้ ไม่เน้นเรื่องศิลปะในการแต่ง
   จากความหมายข้างต้น วรรณคดีคือวรรณกรรมประเภทหนึ่งที่มีวรรณศิลป์ (ศิลปะในการแต่ง)
   การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมให้ได้คุณค่าทางอารมณ์และความคิดตามเจตนาผู้แต่ง ต้องใช้การอ่านอย่างพินิจ โดยใช้การตีความ การพิจารณาเนื้อหา แนวคิด และการวินิจฉัยประเมินค่า

หลักการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม

๑. ทำความเข้าใจเรื่อง ดูว่าเรื่องกล่าวถึงใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร และอย่างไร แต่หากวรรณคดีหรือวรรณกรรมไม่มีเนื้อเรื่อง เช่น วรรณคดีสุภาษิต ให้หาแนวคิดของเรื่องว่าพูดถึงอะไร
   ๒. ตีความ ทำความเข้าใจความหมายแฝงจากถ้อยคำที่พบในเรื่อง
   ๓. วิเคราะห์ แยกพิจารณาวรรณคดีหรือวรรณกรรมตามองค์ประกอบต่าง ๆ ได้แก่ รูปแบบ เนื้อหา ภาษา และกลวิธีการประพันธ์
   ๔. วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นว่ามีข้อเด่น ข้อด้อย หรือความเหมาะสมในการแต่งอย่างไร
   ๕. ประเมินค่า ประเมินคุณค่าว่าดีหรือไม่ เพราะเหตุใด พิจารณาข้อมูลและเหตุการณ์แวดล้อมประกอบ

บมความล่าสุด

ทิ้งคำตอบไว้

Please rate*
กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่

- Advertisment -
Google search engine

ยอดนิยม