วันศุกร์, กรกฎาคม 26, 2024

ติดต่อลงโฆษณา โทร : 065 334 8667 (คุณจิรภัทร แสงจันทร์)

หน้าแรกข้อสอบด่วน ก่อนเต็ม อบรมออนไลน์ หัวข้อ เทคนิคการ เขียนเรียงความ ในวันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2566 เวลา 10:00...

ด่วน ก่อนเต็ม อบรมออนไลน์ หัวข้อ เทคนิคการ เขียนเรียงความ ในวันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2566 เวลา 10:00 น. รับเกียรติบัตรจาก สพฐ.

สวัสดีคุณครูทุกท่านครับ วันนี้ปันสื่อฟรี ขอนำเสนอ ด่วน ก่อนเต็ม อบรมออนไลน์ หัวข้อ เทคนิคการ เขียน เรียงความ ในวันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2566 เวลา 10:00 น. รับเกียรติบัตรจาก สพฐ.

รายละเอียดหัวข้อ เทคนิคการ เขียน เรียงความ

รายละเอียดหัวข้อ เทคนิคการ เขียนเรียงความ
รายละเอียดหัวข้อ เทคนิคการ เขียน เรียงความ

Ep.13 ตอน เทคนิคการเขียน เรียงความ

ตัวอย่างเกียรติบัตรเทคนิคการ เขียนเรียงความ ในวันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2566

ตัวอย่างเกียรติบัตรเทคนิคการ เขียนเรียงความ ในวันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2566
ตัวอย่างเกียรติบัตรเทคนิคการ เขียน เรียงความ ในวันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2566

ขอบคุณที่มา : สถาบันภาษาไทย สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ.

การเขียน เรียงความ คืออะไร

เรียงความ คือ การนำเอาความรู้ความคิดเห็น ตลอดจนความจำเรื่องราวต่าง ๆ มาปรับปรุงเรียบเรียงขึ้นเป็นเรื่องราวโดยใช้ศิลปะในการเรียบเรียง  รู้จักเลือกสรรถ้อยคำใช้ให้ถูกต้องเหมาะสม  รู้จักผูกประโยคให้เป็นข้อความที่กระชับรัดกุม  สละสลวย  มีน้ำหนักและสามารถลำดับความได้ชัดเจน  อ่านเข้าใจง่าย  น่าอ่าน

องค์ประกอบการเขียน เรียงความ

องค์ประกอบของเรียงความมี  3  ส่วนดังนี้

1. คำนำ  เป็นองค์ประกอบตอนเริ่มต้นเรียงความ  มีความสำคัญคือ  เป็นส่วนที่จะดึงดูดความ

สนใจผู้อ่านให้สนใจอ่านเนื้อเรื่อง  คำนำที่ดีต้องเร้าใจ  สะกิดใจผู้อ่านให้เกิดความสนใจและช่วยนำไปสู่ประเด็นสำคัญของเรื่อง  ความยาวไม่เกิน  10  บรรทัด

2. เนื้อเรื่อง  เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของเรียงความ  เพราะเป็นส่วนที่ต้องแสดงความรู้ความ

คิดเห็นให้ผู้อื่นทราบตามโครงเรื่องที่วางเอาไว้  เนื้อเรื่องประกอบด้วยย่อหน้าหลายย่อหน้าที่เป็นสาระสำคัญย่อยของเรื่อง  สาระสำคัญย่อยเหล่านั้นประกอบกันเป็นสาระสำคัญใหม่คือตัวเรื่องทั้งหมด

3. การสรุป  คือการลงท้ายหรือส่งท้ายเรื่อง  วิธีการเขียนสรุปมีหลายวิธีดังนี้

– สรุปโดยการย้ำแนวความคิดหรือประเด็นสำคัญของเรื่องอีกครั้งหนึ่งเป็นการส่งท้าย

– สรุปโดยการกล่าวถึงความสัมพันธ์ของเรื่องกับเนื้อเรื่องที่เขียนตอนต้น

– สรุปด้วยสุภาษิต  คำคม  สำนวนโวหาร  คำพังเพย  อ้างคำพูดของบุคคล  ทฤษฎี  หลักศาสนา  คำสอนต่างๆหรือบทร้อยกรอง ฯลฯ

บมความล่าสุด

ทิ้งคำตอบไว้

Please rate*
กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่

- Advertisment -
Google search engine

ยอดนิยม