วันอาทิตย์, ธันวาคม 8, 2024

ติดต่อลงโฆษณา โทร : 065 334 8667 (คุณจิรภัทร แสงจันทร์)

หน้าแรกอบรมออนไลน์แบบทดสอบออนไลน์ ส่งเสริมการอ่านออนไลน์ เมืองโบราณศรีเทพ สู่มรดกโลก ผ่านเกณฑ์รับเกียรติบัตรทาง E- mail หากทำแบบทดสอบผ่านร้อยละ 80 % ขึ้นไป

แบบทดสอบออนไลน์ ส่งเสริมการอ่านออนไลน์ เมืองโบราณศรีเทพ สู่มรดกโลก ผ่านเกณฑ์รับเกียรติบัตรทาง E- mail หากทำแบบทดสอบผ่านร้อยละ 80 % ขึ้นไป

สวัสดีครับ วันนี้ ปันสื่อฟรี ขอนำเสนอ แบบทดสอบออนไลน์ ส่งเสริม การอ่านออนไลน์  เมือง โบราณศรีเทพ สู่มรดกโลก ผ่านเกณฑ์รับเกียรติบัตรทาง E- mail หากทำแบบทดสอบผ่านร้อยละ 80 % ขึ้นไป

คำชี้แจง โบราณศรีเทพ สู่มรดกโลก

เมืองโบราณศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นเมืองโบราณขนาดใหญ่ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายราว 1,500-2,000 ปีก่อน ต่อเนื่องจนถึงยุคประวัติศาสตร์ที่มีหลักฐานทางโบราณคดีที่เป็นอิทธิพลศาสนาฮินดูโบราณและเป็นโบราณสถานสำคัญในวัฒนธรรมทวารวดี ช่วงพุทธศตวรรษที่12-16 และวัฒนธรรมขอมโบราณ ช่วงพุทธศตวรรษที่ 16-18
แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 3 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่1 ข้อมูลทั่วไป
ส่วนที่2 แบบทดสอบ มีทั้งหมด 10 ข้อ
ส่วนที่3 แบบประเมินความพึงพอใจ
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม
1.เพื่อส่งเสริมการอ่านผ่านสื่อออนไลน์ และเสริมสร้างนิสัยรักการอ่านในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล
2.เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวโบราณสถานสำคัญของประเทศไทย
   *** ทำคะแนนได้ 80% ขึ้นไป ท่านจะได้รับเกียรติบัตรทางอีเมล์ที่แจ้งไว้ ***
จัดทำโดย ห้องสมุดประชาชนอำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์

ตัวอย่างเกียรติบัตร โบราณศรีเทพ สู่มรดกโลก

ตัวอย่างเกียรติบัตรส่งเสริมการอ่านออนไลน์
ตัวอย่างเกียรติบัตรส่งเสริมการอ่านออนไลน์

ประวัติการค้นพบ โบราณศรีเทพสู่มรดกโลก

ประวัติการค้นพบเมืองศรีเทพ
ประวัติการค้นพบเมืองศรีเทพ
ประวัติการค้นพบเมืองศรีเทพ
ประวัติการค้นพบเมืองศรีเทพ
ประวัติการค้นพบเมืองศรีเทพ
ประวัติการค้นพบเมืองศรีเทพ
ประวัติการค้นพบเมืองศรีเทพ
ประวัติการค้นพบเมืองศรีเทพ

  ปรางค์ศรีเทพ

เป็นสถาปัตยกรรมเนื่องในวัฒนธรรมเขมรมีลักษณะเป็นปราสาทที่ก่อด้วยอิฐตั้งอยู่บนฐานศิลาแลงขนาดใหญ่ หันหน้าไปทางด้านตะวันตกในแนวแกนเดียวกับปรางค์สองพี่น้อง  จากลักษณะทางสถาปัตยกรรมและโบราณวัตถุที่พบโดยเฉพาะทับหลังทำให้อนุมานได้ว่าคงสร้างขึ้นเพื่อเป็นเทวาลัยเนื่องในศาสนาฮินดู (พราหมณ์)  ลัทธิไศวนิกายในราวพุทธศตวรรษที่  ๑๖ – ๑๗   ต่อมาคงมีการพยายามซ่อมแซมดัดแปลงแต่ยังไม่แล้วเสร็จเพื่อใช้เป็นศาสนสถานเนื่องในพุทธศาสนาลัทธิมหายานในรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗  (พ.ศ. ๑๗๒๔ – ๑๗๖๐)  เช่นเดียวกันกับปรางค์สองพี่น้อง เนื่องจากมีการพบชิ้นส่วนสถาปัตยกรรมที่เป็นเพียงโกลนอยู่เป็นจำนวนมาก

บมความล่าสุด

ทิ้งคำตอบไว้

Please rate*
กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่

- Advertisment -
Google search engine

ยอดนิยม