วันพฤหัสบดี, ธันวาคม 19, 2024

ติดต่อลงโฆษณา โทร : 065 334 8667 (คุณจิรภัทร แสงจันทร์)

หน้าแรกรายงานแจกฟรี เอกสารตัวอย่างผลงานรางวัลครู 7 รางวัล แก้ไขได้ ไฟล์ Word โดยคุณครูเทวัญ ภูพานทอง

แจกฟรี เอกสารตัวอย่างผลงานรางวัลครู 7 รางวัล แก้ไขได้ ไฟล์ Word โดยคุณครูเทวัญ ภูพานทอง

สวัสดีคุณครูท่านนะครับ วันนี้ ปันสื่อฟรี ขอนำเสนอ ตัวอย่างผลงานรางวัลครู 7 รางวัล แก้ไขได้
ไฟล์ Word โดย คุณครูเทวัญ ภูพานทอง

ตัวอย่างไฟล์ผลงานรางวัลครู 7

ตัวอย่างไฟล์ผลงานรางวัลครู 7
ตัวอย่างไฟล์ผลงานรางวัลครู 7
ตัวอย่างไฟล์ผลงานรางวัลครู 7
ตัวอย่างไฟล์ผลงานรางวัลครู 7
ตัวอย่างไฟล์ผลงานรางวัลครู 7
ตัวอย่างไฟล์ผลงานรางวัลครู 7

ผลงานรางวัลครู 7 รางวัล

1. รางวัลคุรุสดุดี
2. ครูผู้สอนดีเด่น
3. obec Awards
4. พระพฤหัสบดี
5. ครูดีในดวงใจ
6. ผู้ทำคุณประโยชน์ สกสค.
7. รางวัลข้าราชการพลเรือนดีเด่น

ประวัติความเป็นมา การจัดงานวันข้าราชการพลเรือน

เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๒ เป็นปีที่องค์กรกลางบริหารงานบุคคลต่าง ๆ ของรัฐ และสมาคมที่เกี่ยวข้องกับข้าราชการพลเรือนได้หารือกันที่จะให้มีการจัดงานเนื่องในโอกาสครบรอบ ๕๐ ปี แห่งการใช้กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ในที่สุดจึงได้ร่วมกันจัดงาน “สัปดาห์การบริหารงานบุคคล” ขึ้น ในระหว่างวันที่ ๑-๗ เมษายน จากการจัดงานดังกล่าว จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่องค์กรกลางบริหารงานบุคคลต่าง ๆ ของรัฐและสมาคมที่เกี่ยวข้องกับข้าราชการพลเรือนได้เห็นพ้องต้องกันว่า ควรจะมีวันข้าราชการพลเรือนขึ้นมา และควรถือเอาวันที่ ๑ เมษายน เป็น “วันข้าราชการพลเรือน” เหตุผลที่ต้องเป็นวันนี้ก็เพราะเป็นวันที่ได้มีการประกาศใช้บังคับกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฉบับแรก คือ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช ๒๔๗๒

นอกจากเหตุผลดังกล่าวนี้แล้ว การถือเอาวันที่ ๑ เมษายน เป็น “วันข้าราชการพลเรือน” ยังเป็นเครื่องแสดงถึงกตเวทิคุณสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ในพระมหาจักรีบรมราชวงศ์ ซึ่งเป็นผู้ทรงวางรากฐานระเบียบข้าราชการพลเรือนไทยสมัยใหม่ขึ้นมา

ครูดีในดวงใจ

คือผู้ที่ถือปฏิบัติตามระเบียบและแบบธรรมเนียมอันดีงามของสถานศึกษาและถ่ายทอดวิชาความรู้โดยไม่บิดเบือนและปิดอำพราง ไม่นำหรือยอมให้นำผลงานทางวิชาการของตนไปใช้ในทางทุจริตหรือเป็นภัยต่อมนุษย์ชาติ ครู คือ บุคคลที่มีหน้าที่ หรือมีอาชีพในการสอนนักเรียน เกี่ยวกับวิชาความรู้ หลักการคิดการอ่าน รวมถึงการปฏิบัติและแนวทางในการทำงาน โดยวิธีในการสอนจะแตกต่างกันออกไปโดยคำนึงถึงพื้นฐานความรู้ ความสามารถ และเป้าหมายของนักเรียนแต่ละคน คำว่า “ครู” มาจากศัพท์ภาษาสันสกฤต “คุรุ” และภาษาบาลี “ครุ, คุรุ” ครูต้องรักและเมตตาต่อศิษย์ให้ความเอาใจใส่ ช่วยเหลือส่งเสริมให้กำลังใจในการศึกษาเล่าเรียน โดยเสมอหน้าอาทิการสร้างความรู้สึกที่เป็นมิตร เป็นที่พึ่งพาและไว้วางใจได้ของศิษย์? นรีรัตน์ นาครินทร์

เข้าร่วมกลุ่มกับเราได้ที่

เข้าร่วมกลุ่มกับเราได้ที่

ขอขอบคุณผู้จัดทำผลงาน : คุณครูเทวัญ ภูพานทอง

บมความล่าสุด

ทิ้งคำตอบไว้

Please rate*
กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่

- Advertisment -
Google search engine

ยอดนิยม