วันพุธ, ธันวาคม 18, 2024

ติดต่อลงโฆษณา โทร : 065 334 8667 (คุณจิรภัทร แสงจันทร์)

หน้าแรกอบรมออนไลน์แบบทดสอบออนไลน์ เรื่อง การเขียนสะกดคำ เนื่องในวันสุนทรภู่ สู่วันภาษาไทย ผ่านเกณฑ์รับเกียรติบัตรทันที หากทำแบบทดสอบผ่านร้อยละ 80 % ขึ้นไป

แบบทดสอบออนไลน์ เรื่อง การเขียนสะกดคำ เนื่องในวันสุนทรภู่ สู่วันภาษาไทย ผ่านเกณฑ์รับเกียรติบัตรทันที หากทำแบบทดสอบผ่านร้อยละ 80 % ขึ้นไป

สวัสดีครับ วันนี้ ปันสื่อฟรีดอทคอม ขอนำเสนอ แบบทดสอบออนไลน์ เรื่อง การเขียนสะกดคำ เนื่องในกิจกรรม 34 วันจากวันสุนทรภู่ สู่วันภาษาไทย ผ่านเกณฑ์รับเกียรติบัตรทันที หากทำแบบทดสอบผ่านร้อยละ 80 % ขึ้นไป
โดย โรงเรียนเสาไห้ “วิมลวิทยานุกูล”

ตัวอย่างเกียรติบัตรเรื่อง การเขียนสะกดคำ

ตัวอน่าวเกียรติบัตรเรื่อง การเขียนสะกดคำ
ตัวอน่าวเกียรติบัตรเรื่อง การเขียนสะกดคำ

การสะกดคำ คือ

การอ่านโดยนำพยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์ และตัวสะกดมาประสมเป็นคำอ่าน ถือเป็นเครื่องมือการอ่านคำใหม่ ซึ่งต้องให้นักเรียนสังเกตรูปคำพร้อมกับการอ่านการเขียน เมื่อสะกดคำจนจำคำอ่านได้แล้ว ต่อไปก็ไม่ต้องใช้วิธีการสะกดคำนั้น ให้อ่านเป็นคำได้เลย จะทำให้นักเรียนอ่านจับใจความได้และอ่านได้เร็ว

คำที่ตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด คำที่มีตัวการันต์

ให้ใช้หลักสังเกตรูปคำ รู้ความหมายของคำและจำคำให้ได้โดยอ่านและเขียนอยู่เสมอ เช่น เหตุ จันทร์

สะกดตามรูปคำ

  • เช่น กา สะกดว่า กอ – อา – กา
  • คาง สะกดว่า คอ – อา – งอ – คาง
  • ค้าง สะกดว่า คอ – อา – งอ – คาง – ไม้โท – ค้าง

คำที่เป็นสระลดรูปหรือสระเปลี่ยนรูป อาจสะกดได้ดังนี้

  • เช่น กัน สะกดว่า กอ – อะ – นอ – กัน หรือ กอ – ไม้หันอากาศ – นอ – กัน
  • คน สะกดว่า คอ – โอะ – นอ – คน หรือ คอ – นอ – คน
  • แข็ง สะกดว่า ขอ – แอะ – งอ – แข็ง หรือ ขอ – แอะ – ไม้ไต่คู้ – งอ – แข็ง
  • เค็ม สะกดว่า คอ – เอะ – มอ – เค็ม หรือ คอ – เอะ – ไม้ไต่คู้ – มอ – เค็ม

วิสรรชนีย์  คือ

วิสรรชนีย์  คือ
วิสรรชนีย์  คือ

คำที่ออกเสียงสระอะ และมีรูปสระ_ะ กำกับ  เวลาอ่านออกเสียงครึ่งเสียง หากรูป​สระ_ะ อยู่ที่พยางค์หน้า แต่ออกเสียงเต็มเสียง

เมื่ออยู่ที่พยางค์หลัง

คำที่ประวิสรรชนีย์ที่พยางค์หน้า  ได้แก่ เช่น  

คำที่ขึ้นต้นด้วย

กระ  ได้แก่  กระเป๋า กระจก

กะ    ได้แก่  กะทัดรัด  กะทิ

คะ    ได้แก่  คะน้า คะแนน

ตะ  ได้แก่  ตะปู ตะกร้า

ทะ  ได้แก่  ทะลุ ทะเล

ปะ  ได้แก่  ปะทะ ปะการัง

ประ  ได้แก่ ประตู ประมง

มะ  ได้แก่  มะระ มะขาม

ระ  ได้แก่ ระเบียง  ระฆัง

สะ  ได้แก่  สะอาด สะดุด

คำที่ประวิสรรชนีย์ที่พยางค์หลัง  ได้แก่คำว่า พาหนะ ภาชนะ  

คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ คือ คำที่ไม่มีรูป _ะ

กำกับ  เวลาอ่านออกเสียง อะ ครึ่งเสียง เช่น  คำที่ขึ้นต้นด้วย

ข  ได้แก่  ขมุกขมัว  ขนุน

จ  ได้แก่  จรวด จมูก

ฉ  ได้แก่  ฉลาด ฉบับ

ช  ได้แก่ เชลย  ชฎา

ต  ได้แก่  ตลาด ตวัด

ป  ได้แก่  ปฏิทิน ปทุม

ว  ได้แก่  วลี วสันต์

ส  ได้แก่  สมอง สง่า

บมความล่าสุด

ทิ้งคำตอบไว้

Please rate*
กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่

- Advertisment -
Google search engine

ยอดนิยม